



โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา

Khemmaratpittayakom
SPM.29



โครงงานที่ 6


การเสียของกล้วยตากและการเก็บรักษาในสภาพควบคุมความชื้นสัมพัทธ์

ที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญ โครงงาน เป็นที่เราทราบกันดีแล้วว่า กล้วยตากในอำเภอเขมราฐมีชื่อเสียงและรสชาติที่อร่อยเป็นเอกลักษณ์ที่สำคัญอยู่ในคำขวัญอำเภอเขมราฐ ดังนี้
ต้นตำหรับรำตังหวาย ถิ่นไทยนักปราชญ์ ทวยราษฎณ์น้ำใจงาม สุดเขตแดนสยาม มะขามหวานหลายหลาก กล้วยตากรสดี ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา แข่งนาวาสองฝั่งโขง ทั้งนี้กล้วยตากอำเภอเขมราฐของเราจะสามารถทำได้ในเฉพาะช่วงฤดูร้อน แต่ก็อาจทำได้ในช่วงที่มีแดดเท่านั้นเมื่อเป็นเช่นนี้ พวกเราจึงพยายามหาวิธีรักษากล้วยตากให้อยู่ได้นานจากเดิม เพราะในช่วงนั้นสามารถอยู่ได้ 1 เดือนเท่านั้น เราจึงได้หาวิธี watew activity
เป็นปัจจัยที่สำคัญในการควบคุมและป้องกันการเสื่อมเสียของผลิตภัณฑ์อาหาร จึงมีผลโดยตรงต่อการกำหนดอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์อาหาร เนื่องจากค่า Water Activity เป็นปัจจัยที่ชี้ระดับปริมาณน้ำต่ำสุดในอาหารที่เชื้อจุลินทรีย์สามารถนำไปใช้ในการเจริญเติบโตและใช้ในการเกิดปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ เราสามารถใช้ค่า Water Activity ในการประเมินว่าเชื้อจุลินทรีย์ชนิดใดเป็นหรือไม่เป็นสาเหตุที่ทำให้อาหารเสีย ตลอดจนใช้ในการควบคุมและป้องกันการเสื่อมเสียของอาหารที่เกิดขึ้นจากเชื้อจุลินทรีย์ได้ เพราะเชื้อจุลินทรีย์จะเจริญเติบโตได้ภายใต้ค่า Water Activity ที่จำกัด โดยเราจะทำให้อาหารมีค่า Water Activity ต่ำกว่าที่เชื้อจุลินทรีย์จะเจริญเติบโตได้ ตัวอย่างเช่น แบคทีเรียเกือบทุกชนิดไม่สามารถเจริญเติบโตได้ที่ค่า Water Activity ต่ำกว่า 0.9 และราส่วนใหญ่จะไม่เจริญเติบโตที่ค่า Water Activity ต่ำกว่า 0.7


สมาชิกในกลุ่ม
1.1นายคมกริช พละไกร
1.2นางสาวปนัดดา มาโพธิ์
1.3สาวอินทิรา ตาลอ่อน



